Subscribe:

Ads 468x60px

:: เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานITที่ใช้ในงานด้านสาธารณสุขของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดสตูล

รวบรวมคู่มือจาก JHCISลุงหนวด

ขอบคุณเจ้าของไฟล์ที่สร้างคู่มือไว้และขอบคุณลุงหนวดที่รวบรวมมาให้
1"provis 55
http://webboard.moph.go.th/board/viewtopic.php?f=3&t=1596

2.เอกสารคู่มือการลงข้อมูลการคัดกรอง HT DM ของงาน NCD ลุงหนวดเห็นว่าดีมีประโยชน์มาโหลดไปอ่านเป็นแนวทางปฎิบัติกันครับ
http://dl.dropbox.com/u/39217612/Screening%20DM%20HT%20Update.pdf
3"เปิดคอร์ส MySQL & Ireprot For JHCIS 
สิ่งที่ต้องมีเป็นเอกสารและโปรแกรมประกอบต้อง มี 3 อย่างคือ
4.JHCIS v.15 ธ.ค.2554 ออกแล้วคร้าบบบ ตามลิ้งค์เลยครับ
5" การบันทึกข้อมูลใน JHCIS เพื่อให้สามารถส่งออกเพิ่ม 3 แฟ้ม สำหรับปีงบประมาณ 2555 ให้บันทึกฯ ดังนี้
1. แฟ้ม ncdscreen.txt => บันทึกที่เมนู .ระบบคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
2. แฟ้ม chronicfu.txt => บันทึกเพิ่มเติม ที่เมนู บริการ / คล...ิ้กที่ปุ่มฯ NCD Screen & FU
3. แฟ้ม labfu.txt => บันทึกเพิ่มเติม ที่เมนู บริการ ดังนี้
3.1 คลิ้กที่ปุ่ม นํ้าตาล (ได้รหัส Lab 01 - 04) ดังนี้
01=ตรวจนํ้าตาลในเลือด จากหลอดเลือดดำ (FBS) หลังอดอาหาร
02=ตรวจนํ้าตาลในเลือด จากหลอดเลือดดำ (FBS) โดยไม่อดอาหาร
03=ตรวจนํ้าตาลในเลือด จากเส้นเลือดฝอย (DTX) หลังอดอาหาร
04=ตรวจนํ้าตาลในเลือด จากเส้นเลือดฝอย (DTX) โดยไม่อดอาหาร
3.2 ที่แทร็บตรวจมะเร็ง & บริการอื่น / คลิ้กที่ปุ่มฯ การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น …(ได้รหัส Lab 05 – 13 )
ที่เมนูบริการ คลิ้กเลือกแทร็บ ตรวจมะเร็ง & บริการอื่น / แล้วคลิ้กที่ปุ่มฯ การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (Trigriceride - ….) โดยข้อมูลจะบันทึกลงตาราง visitlabchcyhembmsse และได้ข้อมูลออกมาในแฟ้ม LABFU.txt ในคอลัมภ์ LABTEST ( รหัส 05 - 13) โดยรหัส 05 – 13 นี้จะอยู่ในกลุ่ม Lab Chemeclinic ( กลุ่ม Chemeclinic(เคมีคลีนิค) โดยรหัสแล็ป ขึ้นต้นด้วย CH ) ดังนี้
05 – CH99 -> HbA1c
06 – CH25 -> Triglyceride
07 – CH07 -> Total Cholesterol
08 – CH14 -> HDL Cholesterol
09 – CH17 -> LDL Cholesterol
10 – CH04 -> BUN
11 – CH09 -> Creatinine
12 – Cha1 -> albumin ในปัสสาวะ(Urine Protein)
13 – CHc1 -> Creatinine ในปัสสาวะ
โดยข้อมูลจะบันทึกลงตาราง visitlabsugarblood และได้ข้อมูลออกมาในแฟ้ม LABFU.txt ในคอลัมภ์ LABTEST
 6. อันนี้แถม เรื่อง การคิดราคายา ตามาตรฐานกรมบัญชีกลาง ปี 2547 หมวดค่ายาและอาหารทางเส้นเลือด เป็นไฟล์exel  http://dl.dropbox.com/u/39249953/DrugPrice_Cal_011249_new.zip
  7. เพิ่มเติม
‎1.แนวทางการให้รหัสโรค ICD-10 คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน


http://203.157.229.23/09832/images/stories/document/dm-kiam.pdf

2.แนวทางการให้รหัสโรค ICD-10 คัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิต

http://203.157.229.23/09832/images/stories/document/ht-kiam.pdf

3.การคีย์ข้อมูลเยี่ยมหลังคลอดในโปรแกรม JHCIS

http://203.157.229.23/09832/images/stories/document/mch-kiam.pdf

4.การคีย์ข้อมูลแพทย์แผนไทยโปรแกรม JHCIS

http://203.157.229.23/09832/images/stories/document/ttm-kiam%20jhcis.pdf

5.แนวทางการให้รหัสโรคคัดกรองความเสี่ยง DM HT 2555 http://203.157.229.23/09832/images/stories/document/dm%20ht.pdf

============================================

ลุงหนวดเห็นว่ามีประโยชน์ สำหรับเพื่อนสมาชิก นำไปพิมพ์และใช้เป็นคู่มือได้ครับ

ที่มา : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนด จ.พัทลุง

เป้่่าหมายตามกลุ่มอายุ

คุยกะลุงหนวดคุยไปคุยมาเลยได้เรื่อง sql เผื่อใครจะเอาไปเป็นเป้าหมายในการทำงาน ของ JHCIS ครับ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------
select house.villcode,village.villname as ชื่อหมู่บ้าน
 #,pid,birth,getAgeYearNum(birth,current_date) as age,sex
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man0-1"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman0-1"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum0-1" #อายุแรกเกิด - 1ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man0-5"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman0-5"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum0-5" #อายุแรกเกิด - 1ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man6-12"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman6-12"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum6-12"#อายุ 6 - 12ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man13-59"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman13-59"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum13-59" #อายุ 13 - 59ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man60up"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman60up"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum60up" # อายู 60 ปีขึ้นไป
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "Totel_man"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "Totel_weman"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "Totelsum" #ทุกคนในเขตรับผิดชอบ
 #,count(person.pid) as Totle #รวมประชากร
 FROM house INNER JOIN person ON person.hcode = house.hcode
 INNER JOIN village ON village.villcode = house.villcode
 WHERE birth is not null and person.mumoi not in('','0') AND village.villno <> 0 # คัดเลือกเฉพาะหมู่บ้านในเขตบริการ
 AND ((person.dischargetype is null) OR (person.dischargetype != '1')) # คัดคนตายออกไป
 GROUP BY house.villcode,village.villname
# ORDER BY house.villcode #ยังขาดความสมบูร์คือ ยอดรวม UNION
union
select '','รวม' as ชื่อหมู่บ้าน
 #,pid,birth,getAgeYearNum(birth,current_date) as age,sex
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man0-1"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman0-1"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1') and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum0-1" #อายุแรกเกิด - 1ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man0-5"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman0-5"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) in ('0','1','2','3','4','5') and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum0-5" #อายุแรกเกิด - 1ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man6-12"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman6-12"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 6 AND 12 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum6-12"#อายุ 6 - 12ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man13-59"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman13-59"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) BETWEEN 13 AND 59 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum13-59" #อายุ 13 - 59ปี
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "man60up"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "weman60up"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 60 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "sum60up" # อายู 60 ปีขึ้นไป
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex ='1' then 1 else null end) as "Totel_man"
,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex ='2' then 1 else null end) as "Totel_weman"
 ,count(case when getAgeYearNum(birth,current_date) >= 0 and person.sex IN ('1','2') then 1 else null end) as "Totelsum" #ทุกคนในเขตรับผิดชอบ
 #,count(person.pid) as Totle #รวมประชากร
 FROM house INNER JOIN person ON person.hcode = house.hcode
 INNER JOIN village ON village.villcode = house.villcode
 WHERE birth is not null and person.mumoi not in('','0') AND village.villno <> 0 # คัดเลือกเฉพาะหมู่บ้านในเขตบริการ
 AND ((person.dischargetype is null) OR (person.dischargetype != '1')) # คัดคนตายออกไป
-------------------------------------------------------------------------------------------

GIS-JHCIS

GIS-JHCIS เห็นว่ามีประโยชน์เลยเอามาให้ขาโจ๋ JHCISลองกันก่อน นะครับ
เครดิตคุณ ไกรวุฒิ แก้วชาลุน  เวป GIS หลัก  ใครมี facebook สามารถดูไฟล์วีดีโอติดตั้งแบบละเอียดได้ด้านในครับ
ลองอ่าน<<คู่มือ>>ก่อนการตัดสินใจโหลดมาลองเล่น
สำหรับโปรแกรม อยู่ที่มุมดาวน์โหลดด้านล่างขวาครับ
ตัวอย่างการใช้งาน GIS

MySQL Query browserตอนที่ 2 เริ่มตรวจข้อมูลพื้นฐาน

ก่อนดำเนินการควรอ่านบทนำก่อน >>>
บนพื้นฐานของการตรวจของ 18 แฟ้ม(FOP และ FPP) แน่นอนว่า ทั้ง 2 package ต้องมีข้อมูล Person ที่เป็นแฟ้มหลัก เพราะฉนั้นแฟ้มแรก คือ person ถามว่า จะตรวจอย่างไร ผมก็ยังบอกไม่ได้ เราจะต้องมีคู่มือโครงสร้างและ Flowของการตรวจสอบจากสปสช.ก่อน
โครงสร้าง 18 แฟ้มปี55 (21 แฟ้ม หรือ 18+3)
แนวทางการตรวจสอบปี่ 55
กำลังเรียบเรียงต่อครับ
1 .เช็คค่าว่าง แต่ละฟิลดตาม datadict

ลองดูแนวทางการตรวจสอบปี 55 flow B1 หน้า 20
PCUCODE ครบ 5 หลัก CID ครบ 13 หลัก PID ไม่เป็นค่าว่าง SEX เท่ากับ 1 หรือ 2 BIRTH-YYYYMMDD และเป็น ค.ศ. MSTATUS เป็น 1-6 หรือ 9
OCCUPA ครบ3-4 หลัก NATION ครบ3 หลัก TYPEAREA 0-4
มาลองกันเลย
1. หาเลข 13 หลักเป็นค่าว่าง
   select person.pid as  HN ,person.hcode,person.prename,person.fname,person.lname,person.birth,person.idcard as เลข13หลัก
from person
where (person.idcard is null or person.idcard='')
/*dd*/

วางใน ช่องด้านบน กด query ได้ผล result แล้วส่งออกเป็น exel เราก็จะได้ว่าผู้ป่วย hn ไหน ชื่ออะไรที่ยังไม่มี 13 หลักทั้งฐาน เอามาบันทึกให้ครบ
2. หาเลข 13 หลัก ที่มีความยาวไม่เท่ากับ 13
select person.pid as HN ,person.hcode,person.prename,person.fname,person.lname,person.birth,person.idcard as เลข13หลัก
from person where length(person.idcard)<>13
/*dd*/

3. ถ้ามีแล้วแต่จะรู้ได้อย่างไรว่าถูกต้อง ใน jhcis มีแล้วนะครับว่าทำอย่างไร  สำหรับผมคิดว่าจะทำ แบบนี้
4. มาเริ่มเรื่อง sex ต้อง เท่ากับ 1 หรือ 2 สปสช.ไม่ยอมให้ไม่มีไม่ระบุเพศ
 select person.sex,person.pid as HN ,person.hcode,person.prename,person.fname,person.lname,person.birth,person.idcard as เลข13หลัก
from person where person.sex not in('1','2')
/*dd*/

5. BIRTH-YYYYMMDD และเป็น ค.ศ.
 select left(birth,4)as yyyy,person.pid as HN ,person.hcode,person.prename,person.fname,person.lname,person.birth,person.idcard as เลข13หลัก
from person where left(birth,2) not in ('19','20')

มีคนอายุเกินกว่านี้ไหม
ก่อนจะเขียนต่อ ลองอ่านบทวิเคราะห์ของ อ.ดุลก่อนนะครับจะได้เริ่มเข้าใจยิ่งขึ้น
ได้ตรวจสอบดู Flow การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล OP/PP ปี 2555 เฉพาะส่วนที่อาจจะมีผลกระ...ทบจากการปรับเปลี่ยนรหัสใหม่ ดังนี้ (1) แฟ้ม PERSON รหัสหมู่เลือด 2 หลัก - ไม่มีใน flow การตรวจของ สปสช. - ผ่าน
(2) แฟ้ม PERSON รหัสประเภทสิทธิ์ - ไม่มีใน flow การตรวจของ สปสช. - ผ่าน
(3) แฟ้ม PERSON รหัสศาสนา - ไม่มีใน flow การตรวจของ สปสช. - ผ่าน
(4) แฟ้ม PERSON รหัสอาชีพ อยู่ใน flow การตรวจของ สปสช. PE3111 - OCCUPA มีครบ 3 หลัก (สงสัยว่า สปสช. หลุดไปหรือเปล่า หากส่งรหัสใหม่มา 4 หลักจะมีผลกระทบหรือไม่ ลองดูข้อถัดไป) - PENDING!
(5) แฟ้ม SERVICE รหัสอาชีพ อยู่ใน flow การตรวจของ สปสช. PE1111 - OCCUPA มีครบ 3-4 หลัก (เข้าในได้ว่า สปสช. จะกำหนดข้อนี้เพื่อให้ ยืดหยุ่น รองรับการ ปรับเปลี่ยน ของ vendor ต่างๆ ส่งรหัสใหม่มา 3 หลัก หรือ 4 หลัก ก็จะไม่มีผลกระทบใดๆ หากเป็นแบบนั้น ก็สบายใจได้) - PENDING!
(6) รหัสหน้วยบริการใหม่ ที่ต้องปรับเป็น 9 นำหน้า คาดว่า ช่วงเปลี่ยนผ่าน สปสช. น่าจะมีระบบที่ยอมปรับ รหัสเก่า-รหัสใหม่ ให้ยืดหยุ่น รองรับหน่วยบริการ เนื่องจากอ่านดูแล้ว ข้อนี้น่าจะเป็นส่วนที่ สปสช. ขอให้ สนย. (ไม่แน่ใจ) เพื่อให้รองรับการจัดงบประมาณลงไปให้ PCU ที่ แยก/ไม่แยก การบริหารจัดการออกขาก รพ. แม่ข่าย ในข้อนี้ JHCIS เองก็ปรับให้รองรับการปรับเปลี่ยนรหัสได้เองของหน่วยบริการ (รายละเอียดเพิ่มเติม ความชัดเจน ความคืบหน้า จะมาแจ้งเรื่องนี้เพิ่มเติม) ไม่น่าหนักใจอะไร - ผ่าน
ข้อ (4) และ (5) สถานะ PENDING จะหาทางตรวจสอบ และ จะมาอัปเดตใหม่นะครับ


6. MSTATUS เป็น 1-6 หรือ 9
7. OCCUPA ครบ3-4 หลัก
8.  NATION ครบ3 หลัก
9. TYPEAREA 0-4

MySQL Query browserตอนที่ 1 บทนำ

สารบัญ
- MySQL Query browserตอนที่ 1(connect Query Export)
- MySQL Query browserตอนที่ 2
_ ....
- .....

MySQL Query browserตอนที่ 1 บทนำ
MySQL Query browser เป็น tool ที่ติดมากับ set up ของ JHCISใครเคยใช้บ้าง
สงสัยใครๆก็ใช้ navicat หมดมั้ง จริงๆ tool ตัวนี้มีประโยชน์มากๆ
แล้วมันจะมีประโยชน์ในการทำให้ 18 แฟ้ม สมบูรณ์ได้อย่างไร
ติดตามชมตอนต่อไป ครับ
กำลังผลิตบทความครับ
คอนเซบ ว่า
1.สามารถคอนเน็ค ฐาน jhcisdb ได้ คงจะเป็นกันหมดแล้วมั้ง แต่ถ้าใครยังไม่เป็นทำเป็นครั้งแรกก็จะจะสามารถใช้ tool ตัวนี้คอนเนคฐานที่เป็น mysql ได้หมดทุกฐาน(database หรือ ในตัวคอนเนค มันจะเรียกว่า schema )
2. สามารถเขียน SQL พื้นฐาน และส่งออกเป็น ไฟล์ exel เอาไปใช้ในการทำให้ database jhcis สมบูรณ์ได้
3.ขั้น advance ก็สามารถแก้ไขข้อมูลใน database ได้ถูกต้อง
4.ขั้นสูงยิ่งขึ้นไปอีกคือ สามรถนำ sqlไปเขียน report จาก progam ireport และนำมาใช้ใน jhcis ได้
ทั้งนี้และทั้งนั้น คนที่จะอ่านบทความนี้จะต้องมี datadict อยู่ในมือด้วยนะครับ
เริ่ม ข้อ 1 นะครับ
เรื่อง การ connect เปิดหา program Mysql Query Browser ให้เจอก่อน แล้ว คลิกเปิด
ของผมเป็น win7 เข้าที start >> allprogram >> mysql>>MYSQL Query Browser
หลังจากคลิกเปิด ก็จะเจอหน้าจอแรกของ Program หน้าจอแรกนี้หละครับ ที่ผมเรียกว่าหน้าจอ คอนเนคชั่น(connection) มาดูหน้าตาของคอนเนคชั่นดังรูปที่ 1

From :: กลุ่มผู้ดูแลระบบในหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล
กรอกข้อมูลต่างๆ อาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ ipของเครื่อง ชื่อdatabase port ที่เข้าใช้
user(root หรือ sa) password(ที่เราตั้งไว้ตอนติดตั้ง Mysql)เรากรอกข้มูลหน้านี้ถูก ก็เป็นหน้าหลักการทำงานของ Progam จะอธิบายส่วนต่างๆดังนี้ (เอาเฉพาะที่จำเป็นสำหรับการศึกษาของเรานะครับ)
From :: กลุ่มผู้ดูแลระบบในหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล
(รูปที่ 2)
1.ส่วนสำหรับรับคำสั่ง SQL
2.ปุ่มสำหรับ executc(สายฟ้าสีเขียว)
3.ส่วนแสดงผลการ query หรือ Result
4 เมนูสำหรับการส่งออก
ลอง sql แรกเพื่อทดสอบกันดีกว่า ลองก้อปปี้ ตัวอักษรสีแดงใส่ในช่อง 1 แล้วกด สายฟ้า แล้วดูการแสดงผลใน result (ซึ่งในการใช้งานจริงๆอาจต้องพิมพ์ หรือมีปุ่มตัวช่วยให้กด) ลองกันเลย
select * from person ความหมาย คือ เลือกทุกฟิลด์จากตาราง person มาแสดง  ลองแล้วเห็นผลอย่างไร
select pid,hcode,prename,fname from person order by hcode   ความหมาย sql ที่ 2 คือ  เลือก เฉพาะฟิลด์ pid,hcode,prename,fname จากตาราง person มาแสดง และเรียงตามลำดับให้ด้วย
ก่อนจะเริ่มกัน จริงเห็นว่าไม่ยากใช่ไหม
แล้วเมนูสำหรับการส่งออกหล่ะ อยู่ที่ไหน  การส่งออกหมายถึงอะไร ?
เราคงเคยได้ยินคำว่า "save as "หรือ "บันทึกแฟ้มเป็น" ในโปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ ไม่ว่า Ms Word Ms Exelสิ่งที่เราควรทำความเข้าใจ คือ นามสกุลของไฟล์ให้สัมพันธ์กับโปรแกรมที่ใช้เปิดไฟล์ เช่น ถ้าใช้ Ms exelเปิด ก็ควรจะปันทึกเป็น .xls ส่วน.doc ก็เอกสารของ Ms word
แต่ใน Mysql Query Browser การส่งออกง่ายกว่านี้อีก เพราะมีเมนูเฉพาะให้
ไปที่เมนู file >>Exportresultset >> Export As Exelfile  (จริงๆออกได้หลายแบบแต่เราเลือกศึกษาแบบ exel)มันจะต่อไปว่า เราจะบันทึกไว้ในโฟลเดอร์ไหน ไฟล์ชื่ออะไร .xls กดปุ่ม save ได้เลย
From :: กลุ่มผู้ดูแลระบบในหน่วยงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล
เราก็ได้ไฟล์ exel ที่มีความสวยงามตามแบบฉบับของเรา สามารถเอาไปทำงานต่ออย่างอื่นได้
ภาพรวมของการใช้งานคร่าวๆ ก็หมดเพียงเท่านี้นะครับ

18 แฟ้มสำหรับ ส่ง สปสช.นั้นแบ่งออกเป็น 2 package ได้แก่ FOP (ผมเรียกส่วนOP) และ FPP(ส่วนPP)
-FOP ประกอบ Person ,Service,diag (3แฟ้มนี้ต้องสัมพันธ์ในขั้นตอนการตรวจ) และมีอีก 2 แฟ้มที่เหลือซึ่งทางท่าน สปสชเรียกว่า addon ได้แก่ proced และ Drug ซึ่งมีหรือไม่มีก็ได้ แต่มีจะดีกว่าไม่มีเค้าว่ากันอย่างนั้น
-FPP ประกอบด้วย Person ,EPI,FP,ANC.MCH,PP
สอ.อย่าเพิ่งงงกันนะครับ สอ.ส่งเป็น 18 แต่ขั้นตอนการส่งไปยัง สปสช. Provis จะทำหน้าที่ตัดออกส่งเป็น package FOP และ FPPให้เอง
แล้วเราจะตรวจข้อมูลกันเองได้อย่างไร นี่เป็น concept หลักของการเริ่มต้นเขียนบทความนี้
tool การตรวจของ สปสช OPPP2554.ก็เทพอยู่แล้ว แต่เราไม่เคยเอาข้อมูลกลับมาแก้ไขให้ถูกแล้วส่งออกใหม่อีกครั้งนะซิ  และต้องทำทุกครั้งที่ส่งออก นี่คือประเด็น และถ้าเราแก้ไขข้อมูลพื้นฐานของเราตั้งแต่แรกๆได้สมบูรณ์แล้ว  จะได้ว่าเราจัดทำแค่ครั้งเดียวครั้งต่อไปอาจจะไม่ต้องทำอีก ชิมิ ชิมิ
บทต่อไป จะเริ่มเข้าเรื่่องการตรวจ 18 ยึดตามโครงสร้าง สปสช.ก่อนน๊ะครับ

บทสรุปการบันทึกข้อมูลปี 54 ตามมุมมอง สปสช.

จากบทความของลุงหนวด
เอามาขยายความให้ทุกๆคนได้อ่านกัน
สปสช.ตรวจจับ สถานบริการจอมโกงข้อมูลได้แล้วในปี 2554
สรุปผลตรวจติดตามของ สปสช.กลาง กรณีข้อมูล 18 แฟ้มผิดปกติ ตรวจพบและได้ทำการแจกแจงข้อมูลการโกงหาเงินเข้าหน่วยงานโดยไม่ถูกต้อง ลองไปดูกันครับว่าทาง สปสช.สรุปการโกงอย่างไร
เอกสารสรุปการโกงข้อมูลดูได้ ที่นี่ ครับ
ที่มา : เวบบอร์ดของ สสจ.ยโสธร
>>>เราควรจะอ่านนะครับ เพื่อจะได้บันทึกข้อมูลได้ถูกต้องตามเจตนารณ์ของแฟ้มแต่ละแฟ้ม

เครดิต ลุงหนวดครับ

สู้ต่อไป สำหรับ ปี 55 เป้าหมาย หลักคือ ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องครบถ้วนและน่าเชื่อถือ
ได้ค่าข้อมูลพอประมาณ ^^
โครงสร้าง 18 แฟ้มปี 2555 เป็น 21 แฟ้มครับ
ดาวน์โหลด <<<ที่นี่>>>
แนวทางตรวจสอบข้อมูลปี 55
<<< ดาวนโหลด>>>>
อ่านไปได้นิดเดียวถึงกับสะดุตา

เป็นข้อมูลการบริการ 1 ก.ค. 54 -30 มิย 55 งง ครับ ^^

ช้าไม่ได้แล้วครับพี่น้อง ไม่ต้องรอถึงปีสิ้นปี แสดงวาเราส่งข้อมูลปี 55 เข้าไปแล้วหรือนี่
ช่วยกันอ่านๆ และตีความโดยเร็ว
ต่ออีกนิดนึงนะครับอยากให้ข้อมูลสมบูรณ์มากขึ้นทุกคนควรจะรู้จักโปรแกรมนี้ OP-PP2554
เครติต อ.แรมโบ้(วังดาราครับ)

เมื่อต้องเริ่มทำHA(อีกครั้ง)

ได้โจทย์ SPA มา คำถามแรกเกิดขึ้นในใจ คืออะไร ? ต้องทำอะไรบ้าง แล้วมันจะได้คุณภาพ ได้อย่างไร
ตามความคิดของผมนะครับ ha ที่ทำยากเกินไป เพราะระบบ รพ.ประกอบด้วย บุคลากรหลากหลายสาขาวิชาชีพ
ซึ่งแต่ละวิชาชีพ ยังยึดติดตำราของตนเองอยู่ ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารต่อบุคคลากร ซึ่งต่างสาขากับวิชาชีพของตน
ทวนอีกครั้งครับ SPA? อึ้งกิมกี่ หรือ กูมึนโฮ ดี
ถามอาจารย์ของผมดีกว่าครับ เค้ารู้จักกับคนทั่วโลก อาจารย์กู(เกิ้ล)
ได้มาแล้ว เอามาแปะไว้ให้ กันลืม ถามหลายๆครั้งเดี๋ยวอาจารย์จะเคือง
SPA I

SPA II
ได้มา 2 เล่มแล้ว ผมก็ยังไม่ได้อ่านเหมือนเดิม ^^ พอได้อ่านแล้วจะค่อยเอามาขยายความต่อ
มาอีกเรื่อง Service profile ?

รวมไฟล์วีดีโอสอน jhcis

มีโอกาสเข้าร่วมกลุ่ม JHCIS_SKHO(สงขลา)  เจอ JHCIS_ลุงหนวด (น่าจะอยู่ค้อวังมั้ง)แต่ทุกๆเรื่องที่ได้ติดตามมีสาระความรู้มากมาย เลยนำมาแชร์ให้ชาวสาสุข'สตูลได้เรียนรู้  (ผมไม่ได้ใช้Jhcis เพียงแต่ชอบเรียนรู้เรื่อง Database) และที่สำคํญถ้าเรามีความเข้าใจเราจะมีโอกาสได้พัฒนาสิ่งที่มีประโยชน์แก่วงการสาธารสุขมากมาย
เรื่องแรก การสำรองข้อมูล



การบันทึกข้อมูลในJHCIS


การทำรายงานireport ผูกกับjhcis


หลังจากเล่นวีดีโอเสร็จ ก็จะเห็นไฟลวีดีโอสอนมากมาย
-ขอบคุณ JHCISลุงหนวดมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
และอีกคนทีลืมเสียไม่ได้คือเจ้าของไฟล์วีดีโอส่วนใหญ่ คุณsugunxp บึงกาฬ ที่่แชร์สิ่งที่มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอื่นๆที่ไม่มีโอากาสได้เข้าร่วมอบรม ตามสถานที่ต่างๆ
มาฟังเพลงเพราะๆจากคุณsugunxp

กดให้ 1000++ like
เพิ่มเติมจากลุงหนวดครับ
อัพเวอร์ชั่นเป็น 18 ส.ค.54 แล้ว ไม่สามรถบันทึกการวินิจฉัยโรคและจ่ายยาได้ โปรแกรมบอกว่า ท่านไม่สามารถวินิจฉัยและจ่ายยาได้

เครดิตลุงหนวดครับ

ว่าด้วยเรื่อง EPI

ได้รับเมลจาก สปสช.ตัดให้มาอ่านบางส่วน

เรียน ชาว OPPP ที่รัก
แจ้งการประมวลผลข้อมูล PPI แฟ้ม EPI (จาก OPPP18 แฟ้ม แฟ้ม EPI) ข้อมูล 6 เดือน ปี 2554 ผลการบันทึกข้อมูล 34 % จากเป้าหมาย (ผลงานปี 53)
รายละเอียดตามไฟล์แนบ 1.ไฟล์ excel ข้อมูล EPI 6 เดือน งบ PPI_54
จึงขอความร่วมมือ พวกเราตรวจสอบการบันทึกข้อมูล EPI (18 แฟ้ม) ในรหัสวัคซีนของ สนย.ทุกตัว ว่ามีการบันทึกครบถ้วนหรือไม่ รายละเอียดตามไฟล์แนบ 2. รหัสวัคซีน สนย. จากศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชิติ
http://www.thcc.or.th/
โดยเฉพาะ 1.การฉีดวัคซีน บาดทะยัก ในทุกกรณี 1_สำหรับคนท้อง (รหัส 201-205 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ dTNC1-dTNC5 ) และ2_คนทั่วไปมีแผล (TT1/dT1- TT1/dT5 รหัส 101-105)
2.การฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า (รหัส 111-115 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ Rabies Vaccine1 -Rabies Vaccine5)
3.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ มี 2 ตัว ไข้หวัดใหญ่ รหัส 815 ไข้หวัดใหญ่ 2009 รหัส 816
รบกวนตรวจสอบ และบันทึกให้ครบถ้วนด้วยค่ะ
ปล.จากการดูข้อมูล ของทั้งประเทศเขตเรา มีข้อมูลน้อยที่สุดค่ะ
ข้อมูล EPI นี้ จ่าย 2 เด้งนะค่ะ (1_ ค่าข้อมูลจากงบ OPPP 2_ค่าฉีด 10 บาท จาก งบ PPI)

เรียน ชาว OPPP (Xp,Os)
ช่วงนี้เป็นวาระของ EPI คับพี่น้อง
ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมแฟ้ม EPI ของ OPPP และ PPI
การจัดสรรเงิน OPPP บันทึกทุกรหัสวัคซีน ทุกกลุ่มอายุ(รวม บาดทะยักคนท้อง/ทั่วไป,วัคซีนพิษสุนัขบ้าน,ไข้หวัดใหญ่/ 2009)
พื่อจัดสรรเงินสำหรับ การจัดสรรเงิน PPI จ่ายเฉพาะ 1_กลุ่มเด็กอายุ 0 -5 ปี 2_กลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.6 3_กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
...........................................................
หลายๆๆ คนสงสัยว่า ทำไมข้อมูล EPI 6 เดือน จาก PPI ทำไมน้อยจัง(แม้ว่าจะดูเฉพาะ เด็ก0-5 ปี )
ขอบคุณสำหรับ เสียงสะท้อน กำลังตรวจสอบกับส่วนกลางอยู่ค่ะ
สู้สู้ ช่วยกัน key คับพี่น้อง 
--------------------------------------------
ข้อหารือจากเวปoppp http://op.nhso.go.th/op/webboard/eBoardView.do?id=4688
ในฐานะผู้ให้บริการ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆสามารถใช้ในงานบริหารได้ ตลอดจน เพื่อการใช้ผลงานต่างๆ
เราต้องมีหน้าทีในเรื่องนี้อย่างไร สถานบริการต่างต้องทำอย่างไร
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานบริการที่ผ่านมาของรพ.ที่ผมอยู่EPI บันทึกเฉพาะ เด็ก 0-5 ปี
หมวดอื่น ยังไม่ได้บันทึก (EPI นักเรียน,หญิงต้งครรภ์,วัคซีน TT ในแผล,วัคซีนพิษสุนัขบ้าที่ ER,หรือแม้กระทั่ง OPV รณรงค์)ยังมีข้อมูลอยู่มากโข
สรุปก็คือ แฟ้ม epi บันทึกได้ทุกหมวดที่มีรหัสของวัคซีนที่มีอยู่ใน สนย
สิ่งที่กังวลหากไม่บันทึกคิดว่าเป็นเรื่องใญ่คือ วัคซีนสุนัขบ้า ว่าทำไมปีที่ผ่านมา จังหวัดเราถึงได้รับการสนับสนุนน้อยมั่กๆ เราต้องใช้เงินบำรุงซื้อมามากมาย ทำให้ต้องเสียโอกาศสตรงส่วนนี้มหาศาล

NCDMODEL

นำเสนอระบบบูรณาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง ของกาฬสินธุ์

ข้อดีของระบบ
-ใช้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน Provis ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม
- แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านช่องทางของ Webservis ลดการผิดพลาด human error
- ไม่ได้ยึดติดกับ his ของเจ้าใดๆ เพราะแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางชุดข้อมูลมาตรฐาน
ขอบคุณ อ.ดุลยวัฒน อ.สัมฤทธิ์ และ อ.วิเวก ที่พัฒนาเครื่องมือดีๆ ให้กับวงการสาธารณสุขไทย
http://provis.stno.moph.go.th/provis/main/index.php
และแล้ว provis ของสตูลก็ update รองรับ webservice และ NCD MODEL
หน้าที่ของรพ.คือ UPLOAD 12+18 และ แฟ้ม NCD 4 แฟ้มเข้า PROVIS
หน้าที่ของ รพ.สต ต่างๆคือ การเคลียร์เลข 13 หลัก ในฐานให้ถูกต้องนะครับ
ต่อไปก็ SYNC SYNC และ SYNC

การqueryข้อมูลจาก 18 แฟ้ม และ 12 แฟ้ม

มีโอกาสเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการข้อมูลระบบบริการสุขภาพด้วยภาษา SQL โดยวิทยากรจากศูนย์ระบาด มอ.นำทีมโดยหมอท้อป ได้ความรู้มา เลยอยากจะนำมาแบ่งปันให้แก่ผู้ที่สนใจทุกคน หลักสูตร ประกอบด้วยรายละเอียดคร่าวๆดังนี้ (COPY มาอีกที)
เรียนผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่าน

ทีมวิทยากรขอชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องนำมาในการอบรม ดังนี้

1. นำข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรครายบุคคล และผู้ป่วยใน ของหน่วยบริการทุกหน่วยในอำเภอ ของปีงบประมาณ 2553 หากอำเภอไหนไม่ได้มาเข้าอบรม ขอให้เจ้าหน้าที่ของ สสจ ช่วยนำข้อมูลของอำเภอนั้นมาด้วย เพื่อฝึกทำการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของจังหวัด

2. Computer notebook ซึ่งติดตั้งโปรแกรม MySQL เวอร์ชั่น 5.5.1 และ SQLyog เวอร์ชั่น 8.6.3-0Community และ MySQL Connector ODBC เวอร์ชั่น 5.1.8 ไฟล์ติดตั้งโปรแกรมดาวน์โหลดจาก http://medipe2.psu.ac.th/~oppp12/download

3. ไฟล์ข้อมูลสำหรับใช้ในอบรม ให้ดาวน์โหลดจาก http://medipe2.psu.ac.th/~oppp12/download วันที่ 12 เม.ย.54 เวลา 14.00 น. ทั้งหมดลงใน Computer notebook ล่วงหน้าก่อนการอบรม
 ตอนนี้ เอากสารคู่มือ พร้อมให้โหลดแล้วครับ  แถมด้วยโจทย์ต่างๆ น่าสนใจ พร้อมเฉลย
http://medipe2.psu.ac.th/~oppp12/

เช่น
1. การเงินการคลังและเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
จงหาชนิดของยาที่มีราคาทุน ราคาขาย และกำไรสูงที่สุด 5 อันดับแรกในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2553 (เดือนต.ค.-ธ.ค. 2553)

2. การตรวจสอบข้อมูลเพื่อคิดคะแนนคุณภาพข้อมูล (Point)

2.1. จงหาร้อยละความถูกต้อง จำแนกรายเดือนของข้อมูลจากแฟ้ม EPI ที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบดังต่อไปนี้

• CID มีจำนวนหลักครบ 13 หลัก

• ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูลในฟิลด์ PCUCODE, CID, DATE_SERV และ VCCTYPE

2.2. จงหาร้อยละความถูกต้อง จำแนกรายเดือนของข้อมูลจากแฟ้ม FP ที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบดังต่อไปนี้

• ความสอดคล้องของวิธีการคุมกำเนิดกับเพศ โดย

• กรณี FPTYPE เท่ากับ 1,2,3,4,7 ต้องเป็นเพศหญิงที่มีอายุ 9-60 ปีเท่านั้น

• กรณี FPTYPE เท่ากับ 6 ต้องเป็นเพศชาย เท่านั้น

• ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูลในฟิลด์ PCUCODE, CID, DATE_SERV, FPTYPE

ลองคิดเล่นๆดูนะครับว่าเรามีข้อมูล 18 แฟ้มแล้ว เราจะหาข้อมูล จากที่ไหน อย่างไร ก่อนเปิดอ่านเฉลย

Ireport อารมณ์เดียวกับ microsoft

การใช้งาน Ireport ได้ อารมณ์เดียวกับไมโครซอร์ฟ
โดยอาจารย์วิชชากร สวนทรง
part 1

Ubuntu สำหรับ งานสาธารณสุข

 เป็น Ubuntu Server ที่พร้อมใช้งาน โดยการนำ Ubuntu(ต้นฉบับ) เวอร์ชั่น 10.10 amd64 มาทำการ ปรับแต่ง ปรุงแต่ง เพิ่มเติม (Remaster)
ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับงานสาธารณสุข ทำให้เป็นลินุกซ์ดิสโทรหนึ่งที่ติดตั้งแล้วสามารถใช้งานได้ทันที เป็น DVD ขนาด 1.7 G
แพกเกจที่ติดตั้งไว้แล้ว
apache2 , Php5 , Mysql 5.1 ,PostgresPlus 8.4 , PostGis 1.4, ApacheTomcat6, Geoserver, Font แห่งชาติ 13 ตัว
แอพพลิเคชั่นพร้อมใช้งาน
1. PROVIS-6.1.20110214 Update โครงสร้างแล้ว พร้อมตัว Import สำหรับ 12 และ 18 แฟ้ม
2. Jasperserver Report
3. PROVISGIS
4. JHCIS Version 24 กพ 54
5. HospitalOS Build 3.9.10 + PostgresPlus 8.4 x64
6. Open_todsakun web conference
ยังขาด Hosxp เพราะยังไม่มีตัว Client สำหรับ Linux
กำลังหา Host ฝากไฟล์อยู่ครับ PhoUbuntuX64.iso
MD5 d7875dfe811d651bcfc1d00ee60e31ee
วิธีทำเบื้องต้น https://help.ubuntu.com/community/LiveCDCustomization

Boot Menu

ชื่อเครื่อง ต้องตั้งเป็น Health นะครับ เพราะ Provisgis ต้องไปเรียก Postgis layer บนตัว Geoserver อีกที่
อ้างจากชื่อเครื่องเดี่ยวซ้อน layer กับ Googlemap ไม่ได้
หน้า Login Pasword = phoubuntu






ตัวสุดท้ายเป็นเวปคอนเฟอรเร้น
ขอคุณคุณคมสันต์ บ้านสร้าง http://kom.homelinux.org/
ขนาดไฟล์ 1.7 Gb ให้คุณคมสันต์ up เสร็จเอามาให้ดาวนโหลด Download >>>

On Top คืออะไร

หลายคนที่เคยได้ยินกันบ่อยๆ กับคำว่า On Top แล้วมันคืออะไรกัน? วันนี้เลยหาคำตอบมาให้ ลองอ่านกันดูนะครับ
อัตราส่วนการใช้บริการที่ PCU : รพ.แม่ข่าย > 0.88
[ อัตราส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเทียบกับที่โรงพยาบาลแม่ข่าย คำนวณดังนี้ OP visit (ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ) PCU หารด้วย OP visit ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ) ร.พ. ]
เป็นข้อมูลสะสม สถานีอนามัยและโรงพยาบาล จะได้รู้สถานะของตนเอง...
กรอบแนวคิด - งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment)
เป็นงบค่าบริการเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิมาตรฐานตามประกาศสำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เรื่อง การบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2554 ข้อ 5.4 เพื่อจ่ายชดเชยค่าบริการเพิ่มเติมให้แก่
หน่วยบริการปฐมภูมิ (สถานีอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ศูนย์สุขภาพชุมชน ศูนย์แพทย์ชุมชน และคลินิกชุมชนอบอุ่น)ที่มีการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพบริการผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เป็นการสร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลแม่ข่ายพัฒนา ศักยภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย เพิ่มความเป็นธรรมในระบบบริการ และส่งเสริมการใช้บริการใกล้บ้านใกล้ใจของประชาชน  ขอบคุณข้อมูล จากน้องแนน ลาดยาวครับ
 เอกสารหลักเกณฑ์ การให้ ontop จาก สปสช >>>>>>> คลิกครับ!!!!
http://op.nhso.go.th/opdownload/download/file/แนวทางงบ_on_top_14Oct09_.pdf
อ่านที่ไปที่มาแล้วคงรู้น๊ะครับ ว่า 18 แฟ้ม oppp มีความสำคัญอย่างไร ?

รายงานประจำเดือน ทดลองนะครับ

สอบถามปัญหา

บันทึกกันลืม ลินุกซ์ ของ อ.วิภัทร

จากอ.วิภทร ชมรมopensource มอ.

thaiopensource.org | เปิดโลกอิสระกับโอเพนซอร์ส blogs