ได้โจทย์ SPA มา คำถามแรกเกิดขึ้นในใจ คืออะไร ? ต้องทำอะไรบ้าง แล้วมันจะได้คุณภาพ ได้อย่างไร
ตามความคิดของผมนะครับ ha ที่ทำยากเกินไป เพราะระบบ รพ.ประกอบด้วย บุคลากรหลากหลายสาขาวิชาชีพ
ซึ่งแต่ละวิชาชีพ ยังยึดติดตำราของตนเองอยู่ ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารต่อบุคคลากร ซึ่งต่างสาขากับวิชาชีพของตน
ทวนอีกครั้งครับ SPA? อึ้งกิมกี่ หรือ กูมึนโฮ ดี
ถามอาจารย์ของผมดีกว่าครับ เค้ารู้จักกับคนทั่วโลก อาจารย์กู(เกิ้ล)
ได้มาแล้ว เอามาแปะไว้ให้ กันลืม ถามหลายๆครั้งเดี๋ยวอาจารย์จะเคือง
SPA I
SPA II
ได้มา 2 เล่มแล้ว ผมก็ยังไม่ได้อ่านเหมือนเดิม ^^ พอได้อ่านแล้วจะค่อยเอามาขยายความต่อ
มาอีกเรื่อง Service profile ?
รวมไฟล์วีดีโอสอน jhcis
มีโอกาสเข้าร่วมกลุ่ม JHCIS_SKHO(สงขลา) เจอ JHCIS_ลุงหนวด (น่าจะอยู่ค้อวังมั้ง)แต่ทุกๆเรื่องที่ได้ติดตามมีสาระความรู้มากมาย เลยนำมาแชร์ให้ชาวสาสุข'สตูลได้เรียนรู้ (ผมไม่ได้ใช้Jhcis เพียงแต่ชอบเรียนรู้เรื่อง Database) และที่สำคํญถ้าเรามีความเข้าใจเราจะมีโอกาสได้พัฒนาสิ่งที่มีประโยชน์แก่วงการสาธารสุขมากมาย
เรื่องแรก การสำรองข้อมูล
การบันทึกข้อมูลในJHCIS
การทำรายงานireport ผูกกับjhcis
หลังจากเล่นวีดีโอเสร็จ ก็จะเห็นไฟลวีดีโอสอนมากมาย
-ขอบคุณ JHCISลุงหนวดมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
และอีกคนทีลืมเสียไม่ได้คือเจ้าของไฟล์วีดีโอส่วนใหญ่ คุณsugunxp บึงกาฬ ที่่แชร์สิ่งที่มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอื่นๆที่ไม่มีโอากาสได้เข้าร่วมอบรม ตามสถานที่ต่างๆ
มาฟังเพลงเพราะๆจากคุณsugunxp
กดให้ 1000++ like
เพิ่มเติมจากลุงหนวดครับ
อัพเวอร์ชั่นเป็น 18 ส.ค.54 แล้ว ไม่สามรถบันทึกการวินิจฉัยโรคและจ่ายยาได้ โปรแกรมบอกว่า ท่านไม่สามารถวินิจฉัยและจ่ายยาได้
เครดิตลุงหนวดครับ
เรื่องแรก การสำรองข้อมูล
การบันทึกข้อมูลในJHCIS
การทำรายงานireport ผูกกับjhcis
หลังจากเล่นวีดีโอเสร็จ ก็จะเห็นไฟลวีดีโอสอนมากมาย
-ขอบคุณ JHCISลุงหนวดมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
และอีกคนทีลืมเสียไม่ได้คือเจ้าของไฟล์วีดีโอส่วนใหญ่ คุณsugunxp บึงกาฬ ที่่แชร์สิ่งที่มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอื่นๆที่ไม่มีโอากาสได้เข้าร่วมอบรม ตามสถานที่ต่างๆ
มาฟังเพลงเพราะๆจากคุณsugunxp
กดให้ 1000++ like
เพิ่มเติมจากลุงหนวดครับ
อัพเวอร์ชั่นเป็น 18 ส.ค.54 แล้ว ไม่สามรถบันทึกการวินิจฉัยโรคและจ่ายยาได้ โปรแกรมบอกว่า ท่านไม่สามารถวินิจฉัยและจ่ายยาได้
เครดิตลุงหนวดครับ
ป้ายกำกับ:
jhcis
ว่าด้วยเรื่อง EPI
ได้รับเมลจาก สปสช.ตัดให้มาอ่านบางส่วน
เรียน ชาว OPPP ที่รัก
แจ้งการประมวลผลข้อมูล PPI แฟ้ม EPI (จาก OPPP18 แฟ้ม แฟ้ม EPI) ข้อมูล 6 เดือน ปี 2554 ผลการบันทึกข้อมูล 34 % จากเป้าหมาย (ผลงานปี 53)
รายละเอียดตามไฟล์แนบ 1.ไฟล์ excel ข้อมูล EPI 6 เดือน งบ PPI_54
จึงขอความร่วมมือ พวกเราตรวจสอบการบันทึกข้อมูล EPI (18 แฟ้ม) ในรหัสวัคซีนของ สนย.ทุกตัว ว่ามีการบันทึกครบถ้วนหรือไม่ รายละเอียดตามไฟล์แนบ 2. รหัสวัคซีน สนย. จากศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชิติhttp://www.thcc.or.th/
โดยเฉพาะ 1.การฉีดวัคซีน บาดทะยัก ในทุกกรณี 1_สำหรับคนท้อง (รหัส 201-205 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ dTNC1-dTNC5 ) และ2_คนทั่วไปมีแผล (TT1/dT1- TT1/dT5 รหัส 101-105)
2.การฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า (รหัส 111-115 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ Rabies Vaccine1 -Rabies Vaccine5)
3.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ มี 2 ตัว ไข้หวัดใหญ่ รหัส 815 ไข้หวัดใหญ่ 2009 รหัส 816
รบกวนตรวจสอบ และบันทึกให้ครบถ้วนด้วยค่ะปล.จากการดูข้อมูล ของทั้งประเทศเขตเรา มีข้อมูลน้อยที่สุดค่ะ
ข้อมูล EPI นี้ จ่าย 2 เด้งนะค่ะ (1_ ค่าข้อมูลจากงบ OPPP 2_ค่าฉีด 10 บาท จาก งบ PPI)
เรียน ชาว OPPP (Xp,Os)
ช่วงนี้เป็นวาระของ EPI คับพี่น้อง
ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมแฟ้ม EPI ของ OPPP และ PPI
การจัดสรรเงิน OPPP บันทึกทุกรหัสวัคซีน ทุกกลุ่มอายุ(รวม บาดทะยักคนท้อง/ทั่วไป,วัคซีนพิษสุนัขบ้าน,ไข้หวัดใหญ่/ 2009)
เพื่อจัดสรรเงินสำหรับ การจัดสรรเงิน PPI จ่ายเฉพาะ 1_กลุ่มเด็กอายุ 0 -5 ปี 2_กลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.6 3_กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
...........................................................
หลายๆๆ คนสงสัยว่า ทำไมข้อมูล EPI 6 เดือน จาก PPI ทำไมน้อยจัง(แม้ว่าจะดูเฉพาะ เด็ก0-5 ปี )
ขอบคุณสำหรับ เสียงสะท้อน กำลังตรวจสอบกับส่วนกลางอยู่ค่ะสู้สู้ ช่วยกัน key คับพี่น้อง
--------------------------------------------
ข้อหารือจากเวปoppp http://op.nhso.go.th/op/webboard/eBoardView.do?id=4688
ในฐานะผู้ให้บริการ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆสามารถใช้ในงานบริหารได้ ตลอดจน เพื่อการใช้ผลงานต่างๆ
เราต้องมีหน้าทีในเรื่องนี้อย่างไร สถานบริการต่างต้องทำอย่างไร
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานบริการที่ผ่านมาของรพ.ที่ผมอยู่EPI บันทึกเฉพาะ เด็ก 0-5 ปี
หมวดอื่น ยังไม่ได้บันทึก (EPI นักเรียน,หญิงต้งครรภ์,วัคซีน TT ในแผล,วัคซีนพิษสุนัขบ้าที่ ER,หรือแม้กระทั่ง OPV รณรงค์)ยังมีข้อมูลอยู่มากโข
สรุปก็คือ แฟ้ม epi บันทึกได้ทุกหมวดที่มีรหัสของวัคซีนที่มีอยู่ใน สนย
สิ่งที่กังวลหากไม่บันทึกคิดว่าเป็นเรื่องใญ่คือ วัคซีนสุนัขบ้า ว่าทำไมปีที่ผ่านมา จังหวัดเราถึงได้รับการสนับสนุนน้อยมั่กๆ เราต้องใช้เงินบำรุงซื้อมามากมาย ทำให้ต้องเสียโอกาศสตรงส่วนนี้มหาศาล
เรียน ชาว OPPP ที่รัก
แจ้งการประมวลผลข้อมูล PPI แฟ้ม EPI (จาก OPPP18 แฟ้ม แฟ้ม EPI) ข้อมูล 6 เดือน ปี 2554 ผลการบันทึกข้อมูล 34 % จากเป้าหมาย (ผลงานปี 53)
รายละเอียดตามไฟล์แนบ 1.ไฟล์ excel ข้อมูล EPI 6 เดือน งบ PPI_54
จึงขอความร่วมมือ พวกเราตรวจสอบการบันทึกข้อมูล EPI (18 แฟ้ม) ในรหัสวัคซีนของ สนย.ทุกตัว ว่ามีการบันทึกครบถ้วนหรือไม่ รายละเอียดตามไฟล์แนบ 2. รหัสวัคซีน สนย. จากศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชิติhttp://www.thcc.or.th/
โดยเฉพาะ 1.การฉีดวัคซีน บาดทะยัก ในทุกกรณี 1_สำหรับคนท้อง (รหัส 201-205 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ dTNC1-dTNC5 ) และ2_คนทั่วไปมีแผล (TT1/dT1- TT1/dT5 รหัส 101-105)
2.การฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า (รหัส 111-115 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ Rabies Vaccine1 -Rabies Vaccine5)
3.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ มี 2 ตัว ไข้หวัดใหญ่ รหัส 815 ไข้หวัดใหญ่ 2009 รหัส 816
รบกวนตรวจสอบ และบันทึกให้ครบถ้วนด้วยค่ะปล.จากการดูข้อมูล ของทั้งประเทศเขตเรา มีข้อมูลน้อยที่สุดค่ะ
ข้อมูล EPI นี้ จ่าย 2 เด้งนะค่ะ (1_ ค่าข้อมูลจากงบ OPPP 2_ค่าฉีด 10 บาท จาก งบ PPI)
เรียน ชาว OPPP (Xp,Os)
ช่วงนี้เป็นวาระของ EPI คับพี่น้อง
ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมแฟ้ม EPI ของ OPPP และ PPI
การจัดสรรเงิน OPPP บันทึกทุกรหัสวัคซีน ทุกกลุ่มอายุ(รวม บาดทะยักคนท้อง/ทั่วไป,วัคซีนพิษสุนัขบ้าน,ไข้หวัดใหญ่/ 2009)
เพื่อจัดสรรเงินสำหรับ การจัดสรรเงิน PPI จ่ายเฉพาะ 1_กลุ่มเด็กอายุ 0 -5 ปี 2_กลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.6 3_กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
...........................................................
หลายๆๆ คนสงสัยว่า ทำไมข้อมูล EPI 6 เดือน จาก PPI ทำไมน้อยจัง(แม้ว่าจะดูเฉพาะ เด็ก0-5 ปี )
ขอบคุณสำหรับ เสียงสะท้อน กำลังตรวจสอบกับส่วนกลางอยู่ค่ะสู้สู้ ช่วยกัน key คับพี่น้อง
--------------------------------------------
ข้อหารือจากเวปoppp http://op.nhso.go.th/op/webboard/eBoardView.do?id=4688
ในฐานะผู้ให้บริการ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆสามารถใช้ในงานบริหารได้ ตลอดจน เพื่อการใช้ผลงานต่างๆ
เราต้องมีหน้าทีในเรื่องนี้อย่างไร สถานบริการต่างต้องทำอย่างไร
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานบริการที่ผ่านมาของรพ.ที่ผมอยู่EPI บันทึกเฉพาะ เด็ก 0-5 ปี
หมวดอื่น ยังไม่ได้บันทึก (EPI นักเรียน,หญิงต้งครรภ์,วัคซีน TT ในแผล,วัคซีนพิษสุนัขบ้าที่ ER,หรือแม้กระทั่ง OPV รณรงค์)ยังมีข้อมูลอยู่มากโข
สรุปก็คือ แฟ้ม epi บันทึกได้ทุกหมวดที่มีรหัสของวัคซีนที่มีอยู่ใน สนย
สิ่งที่กังวลหากไม่บันทึกคิดว่าเป็นเรื่องใญ่คือ วัคซีนสุนัขบ้า ว่าทำไมปีที่ผ่านมา จังหวัดเราถึงได้รับการสนับสนุนน้อยมั่กๆ เราต้องใช้เงินบำรุงซื้อมามากมาย ทำให้ต้องเสียโอกาศสตรงส่วนนี้มหาศาล
ป้ายกำกับ:
สารสนเทศกับการเบิกจ่าย
NCDMODEL
นำเสนอระบบบูรณาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง ของกาฬสินธุ์
ข้อดีของระบบ
-ใช้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน Provis ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม
- แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านช่องทางของ Webservis ลดการผิดพลาด human error
- ไม่ได้ยึดติดกับ his ของเจ้าใดๆ เพราะแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางชุดข้อมูลมาตรฐาน
ขอบคุณ อ.ดุลยวัฒน อ.สัมฤทธิ์ และ อ.วิเวก ที่พัฒนาเครื่องมือดีๆ ให้กับวงการสาธารณสุขไทย
http://provis.stno.moph.go.th/provis/main/index.php
และแล้ว provis ของสตูลก็ update รองรับ webservice และ NCD MODEL
หน้าที่ของรพ.คือ UPLOAD 12+18 และ แฟ้ม NCD 4 แฟ้มเข้า PROVIS
หน้าที่ของ รพ.สต ต่างๆคือ การเคลียร์เลข 13 หลัก ในฐานให้ถูกต้องนะครับ
ต่อไปก็ SYNC SYNC และ SYNC
ข้อดีของระบบ
-ใช้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน Provis ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม
- แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านช่องทางของ Webservis ลดการผิดพลาด human error
- ไม่ได้ยึดติดกับ his ของเจ้าใดๆ เพราะแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางชุดข้อมูลมาตรฐาน
ขอบคุณ อ.ดุลยวัฒน อ.สัมฤทธิ์ และ อ.วิเวก ที่พัฒนาเครื่องมือดีๆ ให้กับวงการสาธารณสุขไทย
http://provis.stno.moph.go.th/provis/main/index.php
และแล้ว provis ของสตูลก็ update รองรับ webservice และ NCD MODEL
หน้าที่ของรพ.คือ UPLOAD 12+18 และ แฟ้ม NCD 4 แฟ้มเข้า PROVIS
หน้าที่ของ รพ.สต ต่างๆคือ การเคลียร์เลข 13 หลัก ในฐานให้ถูกต้องนะครับ
ต่อไปก็ SYNC SYNC และ SYNC
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)