Subscribe:

Ads 468x60px

:: เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานITที่ใช้ในงานด้านสาธารณสุขของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดสตูล

เมื่อต้องเริ่มทำHA(อีกครั้ง)

ได้โจทย์ SPA มา คำถามแรกเกิดขึ้นในใจ คืออะไร ? ต้องทำอะไรบ้าง แล้วมันจะได้คุณภาพ ได้อย่างไร
ตามความคิดของผมนะครับ ha ที่ทำยากเกินไป เพราะระบบ รพ.ประกอบด้วย บุคลากรหลากหลายสาขาวิชาชีพ
ซึ่งแต่ละวิชาชีพ ยังยึดติดตำราของตนเองอยู่ ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารต่อบุคคลากร ซึ่งต่างสาขากับวิชาชีพของตน
ทวนอีกครั้งครับ SPA? อึ้งกิมกี่ หรือ กูมึนโฮ ดี
ถามอาจารย์ของผมดีกว่าครับ เค้ารู้จักกับคนทั่วโลก อาจารย์กู(เกิ้ล)
ได้มาแล้ว เอามาแปะไว้ให้ กันลืม ถามหลายๆครั้งเดี๋ยวอาจารย์จะเคือง
SPA I

SPA II
ได้มา 2 เล่มแล้ว ผมก็ยังไม่ได้อ่านเหมือนเดิม ^^ พอได้อ่านแล้วจะค่อยเอามาขยายความต่อ
มาอีกเรื่อง Service profile ?

รวมไฟล์วีดีโอสอน jhcis

มีโอกาสเข้าร่วมกลุ่ม JHCIS_SKHO(สงขลา)  เจอ JHCIS_ลุงหนวด (น่าจะอยู่ค้อวังมั้ง)แต่ทุกๆเรื่องที่ได้ติดตามมีสาระความรู้มากมาย เลยนำมาแชร์ให้ชาวสาสุข'สตูลได้เรียนรู้  (ผมไม่ได้ใช้Jhcis เพียงแต่ชอบเรียนรู้เรื่อง Database) และที่สำคํญถ้าเรามีความเข้าใจเราจะมีโอกาสได้พัฒนาสิ่งที่มีประโยชน์แก่วงการสาธารสุขมากมาย
เรื่องแรก การสำรองข้อมูล



การบันทึกข้อมูลในJHCIS


การทำรายงานireport ผูกกับjhcis


หลังจากเล่นวีดีโอเสร็จ ก็จะเห็นไฟลวีดีโอสอนมากมาย
-ขอบคุณ JHCISลุงหนวดมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
และอีกคนทีลืมเสียไม่ได้คือเจ้าของไฟล์วีดีโอส่วนใหญ่ คุณsugunxp บึงกาฬ ที่่แชร์สิ่งที่มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอื่นๆที่ไม่มีโอากาสได้เข้าร่วมอบรม ตามสถานที่ต่างๆ
มาฟังเพลงเพราะๆจากคุณsugunxp

กดให้ 1000++ like
เพิ่มเติมจากลุงหนวดครับ
อัพเวอร์ชั่นเป็น 18 ส.ค.54 แล้ว ไม่สามรถบันทึกการวินิจฉัยโรคและจ่ายยาได้ โปรแกรมบอกว่า ท่านไม่สามารถวินิจฉัยและจ่ายยาได้

เครดิตลุงหนวดครับ

ว่าด้วยเรื่อง EPI

ได้รับเมลจาก สปสช.ตัดให้มาอ่านบางส่วน

เรียน ชาว OPPP ที่รัก
แจ้งการประมวลผลข้อมูล PPI แฟ้ม EPI (จาก OPPP18 แฟ้ม แฟ้ม EPI) ข้อมูล 6 เดือน ปี 2554 ผลการบันทึกข้อมูล 34 % จากเป้าหมาย (ผลงานปี 53)
รายละเอียดตามไฟล์แนบ 1.ไฟล์ excel ข้อมูล EPI 6 เดือน งบ PPI_54
จึงขอความร่วมมือ พวกเราตรวจสอบการบันทึกข้อมูล EPI (18 แฟ้ม) ในรหัสวัคซีนของ สนย.ทุกตัว ว่ามีการบันทึกครบถ้วนหรือไม่ รายละเอียดตามไฟล์แนบ 2. รหัสวัคซีน สนย. จากศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชิติ
http://www.thcc.or.th/
โดยเฉพาะ 1.การฉีดวัคซีน บาดทะยัก ในทุกกรณี 1_สำหรับคนท้อง (รหัส 201-205 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ dTNC1-dTNC5 ) และ2_คนทั่วไปมีแผล (TT1/dT1- TT1/dT5 รหัส 101-105)
2.การฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้า (รหัส 111-115 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ Rabies Vaccine1 -Rabies Vaccine5)
3.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ มี 2 ตัว ไข้หวัดใหญ่ รหัส 815 ไข้หวัดใหญ่ 2009 รหัส 816
รบกวนตรวจสอบ และบันทึกให้ครบถ้วนด้วยค่ะ
ปล.จากการดูข้อมูล ของทั้งประเทศเขตเรา มีข้อมูลน้อยที่สุดค่ะ
ข้อมูล EPI นี้ จ่าย 2 เด้งนะค่ะ (1_ ค่าข้อมูลจากงบ OPPP 2_ค่าฉีด 10 บาท จาก งบ PPI)

เรียน ชาว OPPP (Xp,Os)
ช่วงนี้เป็นวาระของ EPI คับพี่น้อง
ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมแฟ้ม EPI ของ OPPP และ PPI
การจัดสรรเงิน OPPP บันทึกทุกรหัสวัคซีน ทุกกลุ่มอายุ(รวม บาดทะยักคนท้อง/ทั่วไป,วัคซีนพิษสุนัขบ้าน,ไข้หวัดใหญ่/ 2009)
พื่อจัดสรรเงินสำหรับ การจัดสรรเงิน PPI จ่ายเฉพาะ 1_กลุ่มเด็กอายุ 0 -5 ปี 2_กลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.6 3_กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
...........................................................
หลายๆๆ คนสงสัยว่า ทำไมข้อมูล EPI 6 เดือน จาก PPI ทำไมน้อยจัง(แม้ว่าจะดูเฉพาะ เด็ก0-5 ปี )
ขอบคุณสำหรับ เสียงสะท้อน กำลังตรวจสอบกับส่วนกลางอยู่ค่ะ
สู้สู้ ช่วยกัน key คับพี่น้อง 
--------------------------------------------
ข้อหารือจากเวปoppp http://op.nhso.go.th/op/webboard/eBoardView.do?id=4688
ในฐานะผู้ให้บริการ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆสามารถใช้ในงานบริหารได้ ตลอดจน เพื่อการใช้ผลงานต่างๆ
เราต้องมีหน้าทีในเรื่องนี้อย่างไร สถานบริการต่างต้องทำอย่างไร
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานบริการที่ผ่านมาของรพ.ที่ผมอยู่EPI บันทึกเฉพาะ เด็ก 0-5 ปี
หมวดอื่น ยังไม่ได้บันทึก (EPI นักเรียน,หญิงต้งครรภ์,วัคซีน TT ในแผล,วัคซีนพิษสุนัขบ้าที่ ER,หรือแม้กระทั่ง OPV รณรงค์)ยังมีข้อมูลอยู่มากโข
สรุปก็คือ แฟ้ม epi บันทึกได้ทุกหมวดที่มีรหัสของวัคซีนที่มีอยู่ใน สนย
สิ่งที่กังวลหากไม่บันทึกคิดว่าเป็นเรื่องใญ่คือ วัคซีนสุนัขบ้า ว่าทำไมปีที่ผ่านมา จังหวัดเราถึงได้รับการสนับสนุนน้อยมั่กๆ เราต้องใช้เงินบำรุงซื้อมามากมาย ทำให้ต้องเสียโอกาศสตรงส่วนนี้มหาศาล

NCDMODEL

นำเสนอระบบบูรณาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง ของกาฬสินธุ์

ข้อดีของระบบ
-ใช้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน Provis ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม
- แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านช่องทางของ Webservis ลดการผิดพลาด human error
- ไม่ได้ยึดติดกับ his ของเจ้าใดๆ เพราะแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางชุดข้อมูลมาตรฐาน
ขอบคุณ อ.ดุลยวัฒน อ.สัมฤทธิ์ และ อ.วิเวก ที่พัฒนาเครื่องมือดีๆ ให้กับวงการสาธารณสุขไทย
http://provis.stno.moph.go.th/provis/main/index.php
และแล้ว provis ของสตูลก็ update รองรับ webservice และ NCD MODEL
หน้าที่ของรพ.คือ UPLOAD 12+18 และ แฟ้ม NCD 4 แฟ้มเข้า PROVIS
หน้าที่ของ รพ.สต ต่างๆคือ การเคลียร์เลข 13 หลัก ในฐานให้ถูกต้องนะครับ
ต่อไปก็ SYNC SYNC และ SYNC

รายงานประจำเดือน ทดลองนะครับ

สอบถามปัญหา

บันทึกกันลืม ลินุกซ์ ของ อ.วิภัทร

จากอ.วิภทร ชมรมopensource มอ.

thaiopensource.org | เปิดโลกอิสระกับโอเพนซอร์ส blogs