Subscribe:

Ads 468x60px

:: เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานITที่ใช้ในงานด้านสาธารณสุขของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในจังหวัดสตูล

person person person

สืบเนื่องจากเรื่องนี้
ย้ำภายใน 15 พย.56นี้เท่านั้นนน

http://op.nhso.go.th/opdownload/download/file/Edit_Person_Guideline.pdf
ไฟล์ Exel รายละเอียดการแก้ไขข้อมูลสถานะบุคคล(typearea) ของหน่วยบริการ ,รพ.สต. และ PCU
เฉพาะหน่วยงาน สสจ. และ โรงพยาบาล ที่ต้องการแก้ไขข้อมูลสถานะบุคคล(typearea)ในแฟ้ม person 
http://op.nhso.go.th/opdownload/download/file/edit_person_typearea.rar

เราจะทราบได้อย่างไรว่าประชากรของเราเท่าใหร่กันแน่ เพื่อเอาข้อมูลที่ได้ไปกรอกใน excel  ที่จะส่งสปสช.  
ได้ script มาจากลุงหนวด 
SELECT p.pcucodeperson as pcucode 
,sum(case when typelive = '1' or typelive = '0' then 1 else 0 end) as "1มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและตัวอยูู่จริง",
sum(case when typelive = '2' then 1 else 0 end) as "2มีชื่ออยู่ในทะเบี,ยนแต่ตัวไม่อยู่จริง",
sum(case when typelive = '3' then 1 else 0 end) as "3ตัวอยู่ในเขตแต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต",
sum(case when typelive = '4' then 1 else 0 end) as "ที่อาศัยอยู่นอกเขตแต่มารับบริการ",
sum(case when typelive = '5' then 1 else 0 end) as "มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ในทะเบียนบ้านเช่นคนเร่น่อนไม่มีที่พักอาศัย",
sum(case when typelive = '1'or typelive = '3' or typelive = '0'then 1 else 0 end) as '1+3',
sum(case when typelive = '1'or typelive = '3'or typelive = '0'or typelive = '2' or typelive ='4' or typelive = '5' then 1 else 0 end) as 'ALL999'
FROM person p where dischargetype is null or dischargetype = '9'
group by pcucode;
ให้เอามา run ใน Mysql query browser (หรือ tool อื่นๆ แล้วแต่ถนัดครับ )
เริ่มต้น run อย่างไร  พื้นฐานเครื่องมือ ผมเขียนบทความไใ้แล้วใน

MySQL Query browserตอนที่ 1 บทนำ

1. หน้าต่างการเชื่อมต่อ  มันคล้ายๆกับตอนที่เรา backupข้อมูลใช่ไหม ^^

2. หน้าต่างที่จะเอา script มาวาง แล้ว run

3. copy script สีแดงด้านบน มาวาง ในช่องที่ 1  แล้วหาสายฟ้าปุ่มเขียวให้เจอ กด เลย 


4. เราก็จะได้ไฟล์รูปแบบ excel สำหรับ พร้อมส่ง สปสช.แล้ว

สำหรับไฟล์ f21ที่สำหรับส่งperson ทั้งหมด จะเช็คได้อย่างไรว่าเท่ากัน??





ถ่ายทอดoppp56

        เป็นคลิปเสียงจากการประชุมการพัฒนาระบบข้อมูลOPPP2556 ในวันที่ 28 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมหรรษา เจบี วิทยากร โดย คุณชัยวัฒน์ จาก สปสช. เอามาให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าฟังได้ศึกษา
ขอบคุณ พี่ Gwagk Chimpleepak  แห่ง สสจปัตตานี เป็นอย่างสูง
clipมีทั้งหมด 5 ตอนนะครับ(ได้รับอนุญาตจากเจ้าของเสียงแล้ว)



ขอขอบคุณพี่อั้น Gwagk Chimpleepak จากใจจริงอีกครั้งครับ
การคิดแต้มใน 21 แฟ้ม ปีงบสปสช 2556 (1กค.55-30มิย.56)

ขอบคุณลุงหนวดที่เผยแพร่ และเจ้าของไฟล์...ด้วยครับ
-ใช้โครงสร้างมาตรฐานข้อมูล 21 แฟ้ม ที่ปรับแก้ใหม่ (เวอร์ชัน 5.0) ซึ่ง สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ จะประกาศใช้ในปีงบประมาณ 2556 วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ทั้งนี้ สปสช. เริ่มใช้ชุดมาตรฐานข้อมูล 21 แฟ้ม เวอร์ชัน 5.0 กับข้อมูลที่มีวันที่บริการ(date_serv) ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555
-รับข้อมูลเพียงรูปแบบเดียว เป็นแบบ Zip file ที่รวมข้อมูลทั้ง 21 แฟ้มไว้ด้วยกัน (ยกเลิกการรับข้อมูลแบบ Package) โดยรับ File ในรูปแบบชื่อ F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip
-ช่องทางการรับส่งข้อมูลยังคงใช้รูปแบบและช่องทางเหมือนกับที่ดำเนินการในปี 2555 คือ ให้ โรงพยาบาล ส่งข้อมูลโดยตรงผ่านทางเว็บไซต์ของระบบ OP/PP Individual records คือ http://op.nhso.go.th/op/ ในส่วนของ รพสต./สสช. ให้ส่งข้อมูลมาที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูลผ่านทางระบบ Provis ของ สสจ.สตูล ที่ http://provis.stno.moph.go.th/
 -เงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ในปี 2556 ที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ จะมีการประมวลผลแฟ้มเพิ่มเติม เป็น 17 แฟ้ม ที่เหลือจำนวน 4 แฟ้ม จะไม่ประมวลผลใดๆ คือ แฟ้ม APPOINT, CARD, HOME, WOMAN
-การตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนน ในส่วนของขอมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก OP แฟ้มที่ใช้ในการตรวจสอบ คือ SERVICE , DIAG, DRUG, PROCED และการตรวจสอบข้อมูลรายบริการ(รายแฟ้ม)ได้แก่แฟ้ม PERSON, EPI, FP, ANC, MCH, PP, CHRONIC, SURVEIL, NUTRI, DEATH, NCDSCREEN, CHRONICFU, LABFU โดยมีหลักการตรวจสอบและเงื่อนไขที่สำคัญ ในแต่ละแฟ้ม ดังนี้
 แฟ้ม PERSON จะให้มีการจัดส่งได้ปีละ 1 ครั้ง คือให้ส่งได้ในเดือน กรกฎาคม 2555
 แฟ้ม CHRONIC เป็นข้อมูลการลงทะเบียนโรคเรื้อรังของบุคคล ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของสถานบริการ ซึ่งจะต้องทำการจัดส่งได้ปีละ 1 ครั้ง คือให้ส่งได้ในเดือน กรกฎาคม 2555
 แฟ้ม MCH และ PP จะต้อง มีข้อมูล วันที่ดูแลแม่และเด็ก ครบ 2 ครั้ง และให้ส่งข้อมูลที่ดูแลครบ 2 ครั้ง หรือ 3 ครั้ง และส่งได้ครั้งเดียว ถ้าดูแลไม่ครบ 2 ครั้ง หรือ 3 ครั้ง จะไม่มีการประมวลผลคิดคะแนนให้
 แฟ้ม SURVIEL ในส่วนของโรงพยาบาลจะต้องมีการบันทึกและส่งข้อมูลให้ทาง สปสช.ภายในเวลาที่กำหนดคือ 7 วันนับจากวันที่ให้บริการ และในส่าวนของ รพ.สต./สสช. วันที่ส่งข้อมูลคิดจากวันที่ สสจ.ส่งให้ สปสช.
 แฟ้ม Nutri จะตรวจสอบวันที่สำราจ(DATE_SERV)และรอบการจัดส่งข้อมูล (Month)ในกรณีเด็กอายุ 0-5 ปี DATE_SERV=กรกฎาคม ตุลาคม มกราคม และ เมษายน ในกรณีอายุ 6-14 ปี DATE_SERV=กรกฎาคม และ มกราคม
 แฟ้ม CHRONICFU และ LABFU จะตรวจสอบความเชื่อมโยง กับ แฟ้ม CHRONIC โดย CID ของแฟ้ม CHRONICFU และ LABFU จะต้องเชื่อมโยงกับ CID ของแฟ้ม CHRONIC ที่มีการวินิจฉัยเป็น HT และ DM ได้
ที่มา: http://wwwnno.moph.go.th/oppp/index.php?topic=102.0


ต้องเริ่มต้นอย่างไรบ้าง




pp 56

ปี 55 ส่วนปี 56 เพิ่มเติมอีกเล็กน้อยตาม slide ด้านล่าง

ขอบคุณพี่อั้น แห่ง สสจ.ปัตตานีที่แบ่งปันสิ่งดีๆ
ปีสปสช 1 ก.ค.55-30 มิย 56 สิ่งต้องระวังคือการใช้ Z131,Z136,Z138,R730,R731,R739,R030
เนื่องจากการมีแฟ้มเก็บเฉพาะ NCDSCREEN ไม่จำเป็นต้องมีใน DIAG อีกต่อไป

สถานีอนามัยดีเด่นระดับเขต(เขต7)



รูปสวยๆของสถานีอนามัยดีเด่นระดับเขต(เขต7)
รพ สต.ต้นปรง  อ.ย่านตาขาว จังหวัดตรัง
























เรียนรู้เรื่อง database ของ jhcis

มีโอกาสได้เข้าร่วมอบรม การเขียนรายงานด้วย ireport รุ่นแรก ขอบคุณ เพื่อนๆเหล่าเทพเจทั้งหลายที่ส่งข่าวมา(อ.แรมโบ้เสืออีสาน,ลุงหนวดหมออนามัย,นู๋ตั๊กแห่งเมืองปาย) ขอบคุณศูนย์เทคที่จัดกาสอบรม ขอบคุณพี่ปูแห่ง สสจ.สตูลที่ให้โอกาส คิดว่าความรู้ที่ได้มาจะนำมาศึกษาและเผยแพร่ต่อไปให้กับผู้ที่ประสงค์ที่จะศึกษาทุกท่านโดยไม่ปิดบังใดๆ
ในการเข้าร่วมอบรม มีโอกาสได้เรียนรู้โครงสร้างฐานข้อมูลของjhcis ER diagram ของ database ความสัมพันธ์ระหว่างตารางต่างๆในjhcis ทำให้คำสั่งในการเขียนรายงานของเราถูกต้องยิ่งขึ้น
การอบรมทั้ง 5 วันได้มีโอกาสเจอเพื่อฝูงมากมาย เหนือกลางอีสานใต้ ที่ดีใจเหนือสิ่งอื่นใดคือได้เจอลุงหนวดตัวเป็นๆ (คุยกันเกื่อบปีไม่เคยเห็นแม้แต่หน้าตาหรือรูปภาพ)
สาระสำคัญที่ต้องเน้นในกาเขียนรายงานใน jhcis คือ ในการ join ตาราง ตัวที่เป็นคีย์ต้อง join ให้ครบและถูกต้องไม่เช่นนั้นการแสดงผลของรายงานจะช้ามาก
 เข่น ถ้าจะ join person กะ house ก็ต้อง
select ...from person inner JOIN house on person.pcucodeperson = house.pcucodeperson
                                                                              and person.hcode = house.hcode
                                                                              and right(house.villcode,2) <>'00'

คอนเซบที่ได้มาคือ คนอยู่ในบ้าน บ้านอยู่ในหมู่บ้าน และไม่ใช่นอกเขต
เรา join กันเรียบร้อยค่อย มา list ดูฟิล์ที่เราต้องการ SQL(select.. from where....)
เมื่อเราเข้าใจคอนเซบแล้วต่อไปคงไม่ยากเกินไปแล้ว สำหรับ database jhcis ที่มีตารางประมาณ 250 ตาราง ไม่เยอะนะถ้าเทียบกับ program ค่ายอื่นๆ
- คอนเซบอีกอย่างของโปรแกรม jhcis เป็น คิดเป็น flow ผู้ป่วยนอกแบบจำง่ายๆก็คือ
ผู้ป่วยเป็นใคร (person) มารับบริการวันไหน (visit) ด้วยโรคอะไร หรือ กิจกรรมอะไร (vistdiag,visitanc,visitepi,.....) พอเข้าใจเรื่อง flow แบบนี้ต่อไปเรื่องการเขียนคำสั่งที่จะไปเอาข้อมูลตามต้องการคงไม่ยาก
นอกจากนี้ใน database jhcis เก็บข้อมูลพื้นฐานที่ไม่มี transection ไว้ในตารางที่ขึ้นต้นด้วย c.... เช่น ctitle เก็บข้มูลคำนำหน้าชื่อ cdrug,cdisease เป็นต้น
ตารางเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตารางที่เป็น trasattion เช่น ใน person เก็บคำนำหน้าชื่อไว้เป็นรหัส หากเราต้องการอ่านคำนำหน้าชื่อนี้ให้รู้เรื่อง เราต้องเอามา join กับ ctitle ก่อน
เกริ่นนำคร่าวๆแต่นี้ก่อนนะครับ
คงมีคนสงสัยว่าทำไมไปอบรม ireport แต่ทำไมไม่พูด ถึง ireport เลย
คำตอบคือ ถ้าไม่เข้าใจคอนเซบการ query หรือ เขียน sql ไม่ได้ก็ไม่สามารถเขียนรายงานด้วย ireport ได้ครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
#หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
#----------------------------
select v.villcode,v.villname,s.subdistname,d.distname,c.provname
 FROM village v
 inner join cprovince c on left(v.villcode,2) =c.provcode
 inner join cdistrict d on left(v.villcode,2) =d.provcode
 and substring(v.villcode,3,2) =d.distcode
 inner join csubdistrict s on left(v.villcode,2) =s.provcode
 and substring(v.villcode,3,2) =s.distcode
 and substring(v.villcode,5,2) =s.subdistcode

----------------------------------------------------
# ประชากรตากลุ่มอายุ

--------------------------------
select
case when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 0 and 4 then 'gr0-04'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 5 and 9 then 'gr05-09'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 10 and 14 then 'gr10-14'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 15 and 19 then 'gr15-19'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 20 and 24 then 'gr20-24'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 25 and 29 then 'gr25-29'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 30 and 34 then 'gr30-34'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 35 and 39 then 'gr35-39'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 40 and 44 then 'gr40-44'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 45 and 49 then 'gr45-49'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 50 and 54 then 'gr50-54'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) between 55 and 59 then 'gr55-59'
when getAgeYearNum(person.birth,CURDATE()) > 60 then 'gr60+'
else '-' end as agegroup
,sum(case when concat(person.pid,person.pcucodeperson) and person.sex = '1' then '1' else '' end )as man
,sum(case when concat(person.pid,person.pcucodeperson) and person.sex = '2' then '1' else '' end )as woman
,sum(case when concat(person.pid,person.pcucodeperson) and person.sex = '1' or '2'then '1' else '' end )as personall
FROM village
INNER JOIN house ON village.villcode = house.villcode AND village.pcucode = house.pcucode
INNER JOIN person ON house.hcode = person.hcode AND house.pcucode = person.pcucodeperson and CONCAT(person.pid,person.pcucodeperson)
NOT IN (SELECT CONCAT(persondeath.pid,persondeath.pcucodeperson) FROM persondeath WHERE deaddate <= CURDATE() or deaddate is not NULL)#ตัดคนตายออกไป
WHERE  RIGHT(house.villcode,2)!= '00'#เป็นหมู่บ้านในเขตบริการ
GROUP BY agegroup;

-----------------------------------------------------------------------

การประชุมถ่ายทอดนโยบายด้านระบบข้อมูล 21 แฟ้ม ปี 55

คิดว่ามีประโยชน์ เลยเอามาฝาก
1. ไฟล์เสียง มี 2 track บรรยาย และช่วงถามตอบ
การประชุมถ่ายทอดนโยบายด้านระบบข้อมูล 21 แฟ้ม ปี 55  วันที่ 10 มกราคม 2555 เจบี หาดใหญ่
2. วีดีโอ


ขอบคุณพีGWAGKไฟล์มาให้เป็นอย่างสูงครับ เป็นประโยชน์มหาศาลต่อข้อมูลสุภาพ และทำให้ผู้ที่เข้ามาดูได้รู้ทิศทางของ ข้อมูลสุขภาพจากผู้ที่ต้องการข้อมูลอย่างแท้จริง ทั้ง สนย.และ สปสช.

ไขปริศนา PP55



กิจกรรมที่ต้องบันทึกในระบบ HIS (JHCIS,Hos,Mitnet,xp) เพื่อให้ออกใน 21 แฟ้ม หากเราทำได้ลองเอาเลข 58.86 * ประขากรในเขตรับผิดชอบ ตาม slide ด้านล่าง


ร้อยทั้งร้อยในสตูลผมคิดว่ายังไม่มีสถานบริการไหนบันทึกกิจกรรมที่ว่านี้ ที่เรียกว่าไขปริศนาเพราะว่า เป็นเรื่องที่คิดว่าใหม่ สปสช. ใช้วิธีเอาข้อมูลจากรหัสโรคที่อยู่ใน op แต่ใช้รหัสที่เป็น pp ซึ่งใน 18 แฟ้มเดิม คำว่า PP หมายถึง EPI ANC FP MCH PP แต่ปี 55 ปรับแนวความคิดได้เลย เพราะฉนั้น วิธีการบันทึกจะต้องบันทึก แบบ OP packageนะครับ หมายถึง PERSON SERVICE DIAG ส่วน Addon DRUG หรือ Proced ห้ามมีใน record ที่มี SEQ นั้นเด้ดขาด
ทำไมถึงห้ามมี ?? ย่อมมีคนถาม ก็ต้องขอบอกว่า เรื่องนี้เป็นเรื่อง PP (ส่งเสริมป้องกัน) หากมีเรื่องยาหรือหัตถการเข้ามาเกี่ยวข้อง แน่นอนมันต้องเป็น เรื่องของ การรักษา ซึ่งเป็นเรื่อง OP ไม่ใช่ PP
สำหรับ สไลด์สุดท้าย ก่อนการบันทึก ในระบบ HIS ให้นึกหลัก 4R5Z ก่อนเสมอ
และ การคำนึงถึง อายุของประชากรตามช่วงกิจกรรม ตามสไลด์ลำดับ 2 และ EPI ANC FP MCH PP ไม่ควรมี รหัสใน แฟ้ม diag  เพราะ สปสช.มองว่าเป็นการซ้ำซ้อน และมีโอกาสโดน pendingสูง 
สรุปเรื่อง pp อีกครั้งนะครับ
 1.มีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจนตามสไลด์ 2 เป็นกลุ่มๆ กันหลุด บางกิจกรรมนึกถึงคำว่า 1 คน 1 ครั้งต่อปี
2.ทำมาตราฐานการบันทึกตาม สไลด์ 4 ว่ากิจกรรมนี้ บันทึกรหัสโรคอะไร พยายามเปรียบเทียบกับเป้าหมายเรื่อย เอารหัสโรคที่ออกจาก diag มาพิจารณาดูบ่อยๆว่าครอบคลุม เพียงพอหรือยัง
3 เรื่องมะเร็งปากมดลูกยังใช้วิธีเดิมอยู่นะครับ ไม่รวมในวิธีนี้
เพราะฉนั้น pp 55 มองเป็น 21 แฟ้มคือ pp เดิม(EPI ANC FP MCH PP ) + PP ที่แฝงอยู่ใน OP ตามกิจกรรมที่ต้องบันทึก (4R5Z) + cirvical screening
ลืมอีกประเด็นคือ การscreen HTDM  หล่ะ ปี 55 ทำอย่างไรก็ได้เพื่อมันจะอยู่ใน 21 แฟ้มที่ชื่อ screen 1 คน 1 ครั้ง ต่อปีและให้เอาเข้าไปใน provis ให้ได้
ขอให้สนุกกับการ บันทึกข้อมูลปี 55 นะครับ
ยังตกอีกประเด็นนึงครับ
หญิงตั้งครรภ์ และ หลังคลอด  ANC PNC และ FP   ตาม slide 2
 เราเคยทราบหรือไม่ว่่า สปสช.เค้าคิดอย่างไร
ANC ประเด็นคือ น้อยกว่า 12  week ครั้งแรก  UC และ สิทธิ์อื่นๆ ประกันสังคมที่ส่งเงิน สมทบไม่ครบ 7 เดือนก็ได้เยอะหน่อย (วันฝากครรภ์ครั้งแรก - ประจำเดือนครั้งสุดท้าย )  ควรเอาข้มูลเก่า(แฟ้ม ANC)มาวิเคราะห์และวางแผนการทำงานเรียนรู้วิธีคิดของ สปสช.ร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน
PNC ก็ภายใน 6 สัปดาห์ (MCH กะ PP) วิเคราห์จากการตวจ opindiv data ก็คงจะพอเดาออกนะครับ (วันตรวจหลังคลอดครั้งที่ 1 - วันคลอด)
FP นี่เรื่อง สิทธิอื่นที่ มิใช่ UC อันนี่เท่าที่สอยมาเงินน้อยสุดเลยไม่น่าสนใจ
แต่หามเอาข้มูลประชากรมาเรียงตาม อายุ แล้ว เอากิจกรรมใส่เข้าไป ก็จะเห็นความคลอบคุมของ กิจกรรม ตามอายุ และสามารถตอบได้ว่า ประชาชนได้อะไร จากระบบ บริการ pp เหล่านี้
และผู้ให้บริการคงมีความสุขที่ได้ ผลงาน และ ผลตอบแทนของสปสช. ต่อสถานบริการที่ทำตามกติกา
หวังว่า ผู้ที่เข้ามาอ่าน คงได้ประโยชน์ไม่มากก็น้อย ตามมุมองของผมนะครับ
 เพิ่มเติม เพราะคิดไว้อยู่ว่า ต้องมีคนถามต่อว่าแล้วจะคียอย่างไรหละ?
มีตัวอย่าง การคีย์ข้อมูลใน JHCIS  เพื่อให้ได้แฟ้ม diag มีข้อมูลการให้รหัสโรค การคัดกรองโรคซึมเศร้า(Z13.3) หรือเรียกZ133  http://dl.dropbox.com/u/39217612/cmpho_it.pdf  ก็เครดิตลุงหนวดเจ้าเก่า ส่วนเจ้าของไฟล์คือ สสจเชียงใหม่ 
     หลักการ  สิ่งที่ต้องเข้าใจก่อน คีย์ให้กับใคร ก็ต้องนึกย้อนกลับไปว่า ทะเบียนคัดกรองซึมเศร้า ทำในประชากรกลุ่ม > 30 และหรือ > 60  เพื่อไม่ให้พลาดกลุ่มเป้าหมายนะครับ และในคีย์ข้มูล ซัก 5 คนก่อนแล้วลงส่งออก 21 แฟ้ม เปิดหา แฟ้มที่ชื่อ diag ลองเปิดดูซักนิดกะ notepad ว่า มีคำว่า Z133 แ้ล้วหรือยัง แล้วที่มี ครบ 5 คนไหม (Ctrl+f) พิมพ์ Z133 ค้นหา >>ค้นหาถัดไป จนครบ 5 คน เท่านี้ก็จะไม่ตกหล่นแล้วครับ อย่าลืมทำให้ครอบคลุมนะครับ สำหรับค่ายอื่น และ การคีย์ อีก 4 Z กะ อีก 4R ก็ใช้หลักการเดียวกันกับ JHCIS
ถ้ามีอะไรใหม่ๆเกียวกับเรื่องนี้ก็ขอเขียนไปในบล้อคหัวข้อนี้เรื่อยๆนะครับ
เพิ่มเติม 25/01/2555 (ก้อบปี้มาจากลุงหนวดหมออนามัยเจ้าเก่า)
การลงรหัส ICD10 เพื่อให้รับค่าตอบแทน ส่งเสริมป้องกันโรค สปสช2555 ดังนี้
การประเมินพัฒนาการในเด็ก
(ตามแนวทางของกรมอนามัย) = Z 001 การตรวจสุขภาพเด็กตามปกติ

การคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค(ในรายที่ทำ confirm screening)
... - Metabolic (HT / อ้วน) = Z 138 การตรวจคัดกรองพิเศษสำหรับโรคและความผิดปกติอื่นที่ระบุรายละเอียด ความผิดปกติของฟัน ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิก ไม่รวม โรคเบาหวาน
- DM = Z 131 การตรวจคัดกรองพิเศษสำหรับโรคเบาหวาน

Pre DM
(ค่า FBS ระหว่าง 100 -125 mg/dl
หรือ Postpandial blood glucose ระหว่าง 140-199 mg/dl )
R 730 ผลการตรวจสอบการทนต่อกลูโคสผิดปกติ
R731 ผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารผิดปกติ
R739 ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ไม่ระบุรายละเอียด
Pre HT
(Pre HT คือค่า Systolic BP ระหว่าง 120-139 mmHg
หรือ Diastolic BP ระหว่าง 80-89 mmHg ) = R 030 วัดความดันโลหิตได้สูง ไม่มีการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม = Z 713 การให้คำปรึกษาและการเฝ้าระวังด้านอาหาร

การคัดกรองภาวะซึมเศร้า = Z 133 การตรวจคัดกรองพิเศษสำหรับความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม
ดูเพิ่มเติม


รายงานประจำเดือน ทดลองนะครับ

สอบถามปัญหา

บันทึกกันลืม ลินุกซ์ ของ อ.วิภัทร

จากอ.วิภทร ชมรมopensource มอ.

thaiopensource.org | เปิดโลกอิสระกับโอเพนซอร์ส blogs